SEO (Search Engine Optimization) หมายถึง การปรับแต่งเว็บไซต์ให้ถูกหาเจอได้ง่ายขึ้น (โดยเฉพาะ Google) ซึ่งเว็บไซต์ของเราจะถูกหาเจอได้ง่ายขึ้นก็ต่อเมื่อปรากฏเป็นลำดับต้นๆ ในหน้าผลการค้นหาของ Search Engine หรืออย่างน้อยก็ควรจะอยู่ในหน้าแรก เท่ากับว่าการทำ SEO คือ การพยายามแข่งขันกันเพื่อให้เว็บไซต์ของตนเองขึ้นไปอยู่หน้าแรกหรือลำดับแรกๆ ใน Google นั้นเอง
Mass Keyword กับ Niche Keyword ทั้ง 2 คำนี้เป็นคำจำกัดความของคีย์เวิร์ดซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน อธิบายได้ดังนี้
“Mass Keyword” หมายถึง คีย์เวิร์ดแบบกว้าง ซึ่งมีปริมาณการใช้งานเยอะๆ หรือเรียกอีกอย่างว่ามีคนใช้คีย์เวิร์ดดังกล่าวนี้ในการค้นหากันเยอะมากๆ ส่วนใหญ่แล้วคีย์เวิร์ดแบบกว้างนี้จะเป็นคำสั้นๆ เช่น Smartphone, Tablet ฯลฯ อีกทั้งไม่มีความเฉพาะเจาะจง เมื่อเราค้นหาผ่าน Google จะเห็นได้ว่ามีผลการค้นหานับล้านรายการ
“Niche Keyword” หมายถึง คีย์เวิร์ดแบบเฉพาะเจาะจงที่เกี่ยวข้องกับสินค้าตัวใดตัวหนึ่ง รุ่นใดรุ่นหนึ่ง หรือตลาดใดตลาดหนึ่ง คีย์เวิร์ดแบบ Niche Keyword นี้มีความแคบกว่า Mass Keyword มีคนใช้ค้นหาน้อยกว่า ผลการค้นหาก็น้อยกว่าด้วย Niche Keyword นี้ มักจะเกิดจากคำมากกว่า 2 คำขึ้นไปมารวมกันอย่างเช่น iPhone 6 4.7 inch case
การจำแนกคีย์เวิร์ด Mass Keyword กับ Niche Keyword เป็นการจำแนกโดยใช้ปริมาณการใช้งานเป็นเกณฑ์ แต่ถ้าเราจัดแบ่งคีย์เวิร์ดโดยใช้ระดับความสำคัญต่อการทำ SEO เป็นเกณฑ์ เราจะสามารถแบ่งคีย์เวิร์ดออกเป็น 2 ประเภทก็คือ Major Keyword กับ Minor Keyword
Major Keyword คือ คีย์เวิร์ดหลัก ซึ่งจะเน้นหนักในการทำ SEO คีย์เวิร์ดหลักนี้ ควรมีคีย์เวิร์ดเดียวจะดีมาก หรืออย่างมากไม่เกิน 3-4 คีย์เวิร์ด ไม่อย่างนั้น จะกลายเป็นว่าเราทำ SEO แบบหว่านแห
Minor Keyword คือ คีย์เวิร์ดรอง หรือคีย์เวิร์ดย่อยๆ อีกกลุ่มหนึ่งที่เราให้ความสำคัญในการทำ SEO น้อยลงมา อาจจะนำมาใช้ในกรณีที่ไม่สามารถใช้คีย์เวิร์ดหลักได้ หรือนำมาเสริมร่วมกับคีย์เวิร์ดหลัก
_________________________________________________
การใช้งาน Editor
การแก้ไขข้อมูลเนื้อหาสามารถปรับแต่งได้ตามที่ต้องการ แต่ขอแนะนำว่าควรกรอกข้อมูลหรือเนื้อหาโดยไม่ต้องเปลี่ยนฟอนต์ เพราะเราได้จัดวางและกำหนดรูปแบบให้เหมาะกับหน้าของเว็บไซต์แล้ว
_________________________________________________
โครงสร้างของเว็บไซต์
_________________________________________________
ปุ่มต่างๆ ของ Editor
_________________________________________________
2. การใส่ข้อมูลเนื้อหาโดยใช้ Editor
การแก้ไขข้อมูลเนื้อหาสามารถปรับแต่งได้ตามที่ต้องการ แต่ขอแนะนำว่าควรกรอกข้อมูลหรือเนื้อหาโดยไม่ต้องเปลี่ยนฟอนต์ เพราะเราได้จัดวางและกำหนดรูปแบบให้เหมาะกับหน้าของเว็บไซต์แล้ว
_________________________________________________
3. การเพิ่มรูปใน Editor
3.1 เลือกพื้นที่ที่ต้องการจะเพิ่มรูป จากนั้นคลิกที่ เพื่อเพิ่มรูป
3.2 จากนั้นให้คลิกที่ “Browser Server” เลือกรูปที่ต้องการ เมื่อเลือกรูปได้แล้วให้กำหนด Alternative Text (ชื่อรูป) จากนั้นตั้งค่า Width (ความกว้าง) ให้เป็น 100% และ Height (ความสูง) ให้เป็นค่าว่าง แล้วคลิกล็อกที่รูปแม่กุญแจ ดังภาพตัวอย่าง เมื่อใส่ครบแล้วให้คลิก “OK” จากนั้นรูปจะแสดงบน Editor
_________________________________________________
4. การเพิ่มไฟล์แนบ (Attachment) ใน Editor
ใน Editor สามารถรองรับสิ่งที่แนบมาในรูปแบบไฟล์ให้เป็นลิงก์เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ เช่น PDF
4.1 คลุมคำที่ต้องการจะทำให้เป็นลิงก์ แล้วคลิกที่ เพื่อเพิ่มไฟล์ ตามลำดับหมายเลขดังรูปด้านล่าง
4.2 คลิก Upload ที่แถบเมนูด้านบนแล้วคลิกที่ “Choose File” เพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการเพิ่ม
จากนั้นคลิกที่ “Send to the Server” เมื่ออัพโหลดเสร็จแล้วให้คลิก “OK”
_________________________________________________
5. การเพิ่มลิงก์เว็บไซต์ (Hyperlink) ใน Editor
ใน Editor สามารถเพิ่มลิงก์จากเว็บไซต์หรือแหล่งที่ต้องอ้างอิงได้ มีวิธีการดังนี้
5.1 เลือกพื้นที่หรือคำที่ต้องการสร้างลิงก์ จากนั้นให้คลิกที่ เพื่อเพิ่มลิงก์เว็บไซต์
5.2 เพิ่มลิงก์เว็บไซต์ที่ต้องการในช่อง URL จากนั้นให้คลิก “OK”
_________________________________________________
6. วิธีการใส่คลิปวีดีโอ YouTube ในเว็บไซต์
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกันก่อนว่า Source คืออะไร ?
Source จะเข้ามาช่วยให้ผู้ใช้นั้นสามารถที่จะฝังข้อมูลต่างๆจากภายนอกเข้ามาสู่ตัวเว็บไซต์ของเราได้ เช่น คลิปวิดีโอหรือโพสต์บนเฟสบุค รวมไปถึงฟอร์มต่างๆ ใน Google และวิธีใช้งานมีดังต่อไปนี้
6.1 เลือกพื้นที่ที่ต้องการใส่วีดีโอ จากนั้นคลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ด
6.2 จากนั้นไปที่หน้า YouTube ที่ต้องการ คลิกที่แชร์แล้วเลือก ฝัง (Embed) ตรงด้านขวาล่าง
6.3 คัดลอกโค้ด < iframe… > แล้วนำโค้ดมาวางลงบน Editor ของเว็บไซต์ จากนั้นตั้งค่า Width (ความกว้าง) ให้เป็น 100%
6.4 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
_________________________________________________
7. วิธีการฝัง Post Facebook และ วิธีการฝังVideo ไปไว้ในเว็บไซต์ของเรา
7.1 วิธีการฝัง Post Facebook ไปที่หน้าเว็บเพจ
คุณสามารถขอรับโค้ดแบบฝังได้โดยตรงจากตัวโพสต์นั้นเอง หากโพสต์ดังกล่าวเป็น สาธารณะ ให้คลิกที่ไอคอนซึ่งปรากฏที่ส่วนมุมด้านขวาบนของโพสต์นั้นบน Facebook
เลือก Embed Post จากเมนูดร็อปดาวน์:
สำหรับโพสต์แบบรูปภาพ ให้เลือกปุ่ม Embed Post ทางด้านขวาล่าง:
7.1.1 คัดลอกโค้ด< iframe... >
คุณจะเห็นกล่องโต้ตอบปรากฏขึ้นพร้อมโค้ด ให้ทำการคัดลอกไว้
7.1.2 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวางโพสต์
7.1.3 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
7.2 วิธีการฝัง Video Facebook ไปที่หน้าเว็บเพจ
คุณสามารถขอรับโค้ดแบบฝังได้โดยตรงจากตัววิดีโอนั้นเอง หากวิดีโอดังกล่าวเป็น สาธารณะ ให้คลิกที่ไอคอนซึ่งปรากฏที่ส่วนมุมด้านขวาบนของโพสต์นั้นบน Facebook
เลือก ฝัง จากเมนูดร็อปดาวน์:
7.2.1 คัดลอกโค้ด < iframe... >
คุณจะเห็นกล่องโต้ตอบปรากฏขึ้นพร้อมโค้ด ให้ทำการคัดลอกไว้
7.2.2 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวางโพสต์
7.2.3 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
_________________________________________________
8. การฝังวิดีโอผ่าน Vimeo
8.1 เข้าไปที่เว็บไซต์ www.vimeo.com หลังจากนั้นเลือกไปที่เมนู “Log in”
8.2 ทำการ Log in (ถ้าเราไม่ทำการ Log in เราจะไม่สามารถอัพโหลดวิดีโอที่เราต้องการได้)
8.3 หลังจาก Log in เรียบร้อยแล้ว เลือกไปที่เมนู “Upload” ทางด้านขวาบน
8.4 เลือก “Choose files to upload”
8.5 เลือกไฟล์ที่เราต้องการอัพโหลดหลังจากนั้นกด Open
8.6 จากข้อ 8.5 เมื่อกด Open แล้ว จะปรากฎตามภาพด้านล่าง
8.7 ไปที่เมนู “Manage videos” เลือก “My videos”
8.8 ต่อจากข้อ 8.7 จะมาที่หน้า Manage Videos แล้วให้กดที่รูปฟันเฟืองดังรูปด้านล่าง
8.9 ไปที่เมนูด้านซ้าย เลือก “Embed”
8.10 กดที่ Embed code
8.11 เมื่อมีกล่องข้อความขึ้นมาให้ทำการคัดลอกโค้ด < iframe... >
8.12 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ จะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวาง Vimeo
8.13 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
_________________________________________________
9 การฝัง Google form
9.1 เข้าไปที่ www.google.com หลังจากนั้นกดที่ ลงชื่อเข้าสู่ระบบ ด้านขวาบนดังรูปด่านล่าง
9.2 เมื่อ Log in เรียบร้อยแล้ว ทำตามขั้นตอนตามลำดับด้านล่าง
9.3 กดที่
9.4 กดไปที่เพิ่มเติม แล้วเลือกไปที่ Google ฟอร์ม ดังรูปด้านล่าง
9.5 ทำการสร้างฟอร์มตามความต้องการ
9.6 กด ส่ง ด้านขวาบนดังรูปด้านล่าง
9.7 เลือกไปที่เมนู และกด”คัดลอก”โค้ด < iframe... >
9.8 กลับมาที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ด จากนั้นเลือกพื้นที่ที่ต้องการวาง Google Form
ที่เราได้ทำการคัดลอกไว้ในส่วนของ 9.7
9.9 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
_________________________________________________
10. การเพิ่มเนื้อหาโดยการใช้ฟังก์ชันตาราง
การเพิ่มเนื้อหาโดยการใช้ฟังก์ชันตารางนั้นช่วยในเรื่องของเนื้อหาที่ต้องการแบ่งเป็นช่องโดยให้เนื้อหาเท่ากันและสวยงาม
10.1 คลิกที่ เพื่อเพิ่มตาราง
10.2 จากนั้นใส่จำนวน Row (แถว)/ Columns (คอลัมน์)/ Border size (ขนาดเส้นขอบ) 1 = เส้นทึบ, 0 = ไม่มีเส้น Width (ความกว้าง) 100% เมื่อกำหนดครบแล้วให้คลิกที่ “OK”
Mass Keyword กับ Niche Keyword ทั้ง 2 คำนี้เป็นคำจำกัดความของคีย์เวิร์ดซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน อธิบายได้ดังนี้
“Mass Keyword” หมายถึง คีย์เวิร์ดแบบกว้าง ซึ่งมีปริมาณการใช้งานเยอะๆ หรือเรียกอีกอย่างว่ามีคนใช้คีย์เวิร์ดดังกล่าวนี้ในการค้นหากันเยอะมากๆ ส่วนใหญ่แล้วคีย์เวิร์ดแบบกว้างนี้จะเป็นคำสั้นๆ เช่น Smartphone, Tablet ฯลฯ อีกทั้งไม่มีความเฉพาะเจาะจง เมื่อเราค้นหาผ่าน Google จะเห็นได้ว่ามีผลการค้นหานับล้านรายการ
“Niche Keyword” หมายถึง คีย์เวิร์ดแบบเฉพาะเจาะจงที่เกี่ยวข้องกับสินค้าตัวใดตัวหนึ่ง รุ่นใดรุ่นหนึ่ง หรือตลาดใดตลาดหนึ่ง คีย์เวิร์ดแบบ Niche Keyword นี้มีความแคบกว่า Mass Keyword มีคนใช้ค้นหาน้อยกว่า ผลการค้นหาก็น้อยกว่าด้วย Niche Keyword นี้ มักจะเกิดจากคำมากกว่า 2 คำขึ้นไปมารวมกันอย่างเช่น iPhone 6 4.7 inch case
การจำแนกคีย์เวิร์ด Mass Keyword กับ Niche Keyword เป็นการจำแนกโดยใช้ปริมาณการใช้งานเป็นเกณฑ์ แต่ถ้าเราจัดแบ่งคีย์เวิร์ดโดยใช้ระดับความสำคัญต่อการทำ SEO เป็นเกณฑ์ เราจะสามารถแบ่งคีย์เวิร์ดออกเป็น 2 ประเภทก็คือ Major Keyword กับ Minor Keyword
Major Keyword คือ คีย์เวิร์ดหลัก ซึ่งจะเน้นหนักในการทำ SEO คีย์เวิร์ดหลักนี้ ควรมีคีย์เวิร์ดเดียวจะดีมาก หรืออย่างมากไม่เกิน 3-4 คีย์เวิร์ด ไม่อย่างนั้น จะกลายเป็นว่าเราทำ SEO แบบหว่านแห
Minor Keyword คือ คีย์เวิร์ดรอง หรือคีย์เวิร์ดย่อยๆ อีกกลุ่มหนึ่งที่เราให้ความสำคัญในการทำ SEO น้อยลงมา อาจจะนำมาใช้ในกรณีที่ไม่สามารถใช้คีย์เวิร์ดหลักได้ หรือนำมาเสริมร่วมกับคีย์เวิร์ดหลัก
การใช้งาน Editor
Editor จะเข้ามาช่วยให้ผู้ใช้นั้น สามารถที่จะแก้ไขเนื้อหาส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ได้ง่าย และสะดวกมากยิ่งขึ้น
1. การจัดการเนื้อหา Meta Tagการแก้ไขข้อมูลเนื้อหาสามารถปรับแต่งได้ตามที่ต้องการ แต่ขอแนะนำว่าควรกรอกข้อมูลหรือเนื้อหาโดยไม่ต้องเปลี่ยนฟอนต์ เพราะเราได้จัดวางและกำหนดรูปแบบให้เหมาะกับหน้าของเว็บไซต์แล้ว
โครงสร้างของเว็บไซต์
ปุ่มต่างๆ ของ Editor
2. การใส่ข้อมูลเนื้อหาโดยใช้ Editor
การแก้ไขข้อมูลเนื้อหาสามารถปรับแต่งได้ตามที่ต้องการ แต่ขอแนะนำว่าควรกรอกข้อมูลหรือเนื้อหาโดยไม่ต้องเปลี่ยนฟอนต์ เพราะเราได้จัดวางและกำหนดรูปแบบให้เหมาะกับหน้าของเว็บไซต์แล้ว
3. การเพิ่มรูปใน Editor
3.1 เลือกพื้นที่ที่ต้องการจะเพิ่มรูป จากนั้นคลิกที่ เพื่อเพิ่มรูป
3.2 จากนั้นให้คลิกที่ “Browser Server” เลือกรูปที่ต้องการ เมื่อเลือกรูปได้แล้วให้กำหนด Alternative Text (ชื่อรูป) จากนั้นตั้งค่า Width (ความกว้าง) ให้เป็น 100% และ Height (ความสูง) ให้เป็นค่าว่าง แล้วคลิกล็อกที่รูปแม่กุญแจ ดังภาพตัวอย่าง เมื่อใส่ครบแล้วให้คลิก “OK” จากนั้นรูปจะแสดงบน Editor
4. การเพิ่มไฟล์แนบ (Attachment) ใน Editor
ใน Editor สามารถรองรับสิ่งที่แนบมาในรูปแบบไฟล์ให้เป็นลิงก์เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ เช่น PDF
4.1 คลุมคำที่ต้องการจะทำให้เป็นลิงก์ แล้วคลิกที่ เพื่อเพิ่มไฟล์ ตามลำดับหมายเลขดังรูปด้านล่าง
4.2 คลิก Upload ที่แถบเมนูด้านบนแล้วคลิกที่ “Choose File” เพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการเพิ่ม
จากนั้นคลิกที่ “Send to the Server” เมื่ออัพโหลดเสร็จแล้วให้คลิก “OK”
5. การเพิ่มลิงก์เว็บไซต์ (Hyperlink) ใน Editor
ใน Editor สามารถเพิ่มลิงก์จากเว็บไซต์หรือแหล่งที่ต้องอ้างอิงได้ มีวิธีการดังนี้
5.1 เลือกพื้นที่หรือคำที่ต้องการสร้างลิงก์ จากนั้นให้คลิกที่ เพื่อเพิ่มลิงก์เว็บไซต์
5.2 เพิ่มลิงก์เว็บไซต์ที่ต้องการในช่อง URL จากนั้นให้คลิก “OK”
6. วิธีการใส่คลิปวีดีโอ YouTube ในเว็บไซต์
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกันก่อนว่า Source คืออะไร ?
Source จะเข้ามาช่วยให้ผู้ใช้นั้นสามารถที่จะฝังข้อมูลต่างๆจากภายนอกเข้ามาสู่ตัวเว็บไซต์ของเราได้ เช่น คลิปวิดีโอหรือโพสต์บนเฟสบุค รวมไปถึงฟอร์มต่างๆ ใน Google และวิธีใช้งานมีดังต่อไปนี้
6.1 เลือกพื้นที่ที่ต้องการใส่วีดีโอ จากนั้นคลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ด
6.2 จากนั้นไปที่หน้า YouTube ที่ต้องการ คลิกที่แชร์แล้วเลือก ฝัง (Embed) ตรงด้านขวาล่าง
6.3 คัดลอกโค้ด < iframe… > แล้วนำโค้ดมาวางลงบน Editor ของเว็บไซต์ จากนั้นตั้งค่า Width (ความกว้าง) ให้เป็น 100%
6.4 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
7. วิธีการฝัง Post Facebook และ วิธีการฝังVideo ไปไว้ในเว็บไซต์ของเรา
7.1 วิธีการฝัง Post Facebook ไปที่หน้าเว็บเพจ
คุณสามารถขอรับโค้ดแบบฝังได้โดยตรงจากตัวโพสต์นั้นเอง หากโพสต์ดังกล่าวเป็น สาธารณะ ให้คลิกที่ไอคอนซึ่งปรากฏที่ส่วนมุมด้านขวาบนของโพสต์นั้นบน Facebook
เลือก Embed Post จากเมนูดร็อปดาวน์:
สำหรับโพสต์แบบรูปภาพ ให้เลือกปุ่ม Embed Post ทางด้านขวาล่าง:
7.1.1 คัดลอกโค้ด< iframe... >
คุณจะเห็นกล่องโต้ตอบปรากฏขึ้นพร้อมโค้ด ให้ทำการคัดลอกไว้
7.1.2 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวางโพสต์
7.1.3 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
7.2 วิธีการฝัง Video Facebook ไปที่หน้าเว็บเพจ
คุณสามารถขอรับโค้ดแบบฝังได้โดยตรงจากตัววิดีโอนั้นเอง หากวิดีโอดังกล่าวเป็น สาธารณะ ให้คลิกที่ไอคอนซึ่งปรากฏที่ส่วนมุมด้านขวาบนของโพสต์นั้นบน Facebook
เลือก ฝัง จากเมนูดร็อปดาวน์:
7.2.1 คัดลอกโค้ด < iframe... >
คุณจะเห็นกล่องโต้ตอบปรากฏขึ้นพร้อมโค้ด ให้ทำการคัดลอกไว้
7.2.2 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวางโพสต์
7.2.3 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
8. การฝังวิดีโอผ่าน Vimeo
8.1 เข้าไปที่เว็บไซต์ www.vimeo.com หลังจากนั้นเลือกไปที่เมนู “Log in”
8.2 ทำการ Log in (ถ้าเราไม่ทำการ Log in เราจะไม่สามารถอัพโหลดวิดีโอที่เราต้องการได้)
8.3 หลังจาก Log in เรียบร้อยแล้ว เลือกไปที่เมนู “Upload” ทางด้านขวาบน
8.4 เลือก “Choose files to upload”
8.5 เลือกไฟล์ที่เราต้องการอัพโหลดหลังจากนั้นกด Open
8.6 จากข้อ 8.5 เมื่อกด Open แล้ว จะปรากฎตามภาพด้านล่าง
8.7 ไปที่เมนู “Manage videos” เลือก “My videos”
8.8 ต่อจากข้อ 8.7 จะมาที่หน้า Manage Videos แล้วให้กดที่รูปฟันเฟืองดังรูปด้านล่าง
8.9 ไปที่เมนูด้านซ้าย เลือก “Embed”
8.10 กดที่ Embed code
8.11 เมื่อมีกล่องข้อความขึ้นมาให้ทำการคัดลอกโค้ด < iframe... >
8.12 กลับไปที่หน้า Editor คลิกที่ จะเป็นหน้าโค้ดจากนั้น เลือกพื้นที่ที่ต้องการวาง Vimeo
8.13 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
9 การฝัง Google form
9.1 เข้าไปที่ www.google.com หลังจากนั้นกดที่ ลงชื่อเข้าสู่ระบบ ด้านขวาบนดังรูปด่านล่าง
9.2 เมื่อ Log in เรียบร้อยแล้ว ทำตามขั้นตอนตามลำดับด้านล่าง
9.3 กดที่
9.4 กดไปที่เพิ่มเติม แล้วเลือกไปที่ Google ฟอร์ม ดังรูปด้านล่าง
9.5 ทำการสร้างฟอร์มตามความต้องการ
9.6 กด ส่ง ด้านขวาบนดังรูปด้านล่าง
9.7 เลือกไปที่เมนู และกด”คัดลอก”โค้ด < iframe... >
9.8 กลับมาที่หน้า Editor คลิกที่ เมื่อเข้ามาแล้วจะเป็นหน้าโค้ด จากนั้นเลือกพื้นที่ที่ต้องการวาง Google Form
ที่เราได้ทำการคัดลอกไว้ในส่วนของ 9.7
9.9 จากนั้นให้คลิกที่ อีกครั้งเพื่อกลับไปที่หน้า Editor ปกติ
ตรวจสอบความเรียบร้อยได้ที่หน้าเว็บไซต์
10. การเพิ่มเนื้อหาโดยการใช้ฟังก์ชันตาราง
การเพิ่มเนื้อหาโดยการใช้ฟังก์ชันตารางนั้นช่วยในเรื่องของเนื้อหาที่ต้องการแบ่งเป็นช่องโดยให้เนื้อหาเท่ากันและสวยงาม
10.1 คลิกที่ เพื่อเพิ่มตาราง
10.2 จากนั้นใส่จำนวน Row (แถว)/ Columns (คอลัมน์)/ Border size (ขนาดเส้นขอบ) 1 = เส้นทึบ, 0 = ไม่มีเส้น Width (ความกว้าง) 100% เมื่อกำหนดครบแล้วให้คลิกที่ “OK”